บันทึกรับสินทรัพย์(มีสัญญา)

Top  Previous  Next

เมนูการบันทึกรับสินทรัพย์(มีสัญญา) เป็นการทำงานเกี่ยวกับการรับสินทรัพย์แบบมีสัญญาซึ่งมีการชำระเงินแบบเป็นงวดๆ ได้ เมนูนี้รับได้เฉพาะสินค้าที่มีประเภทสินค้าเป็นสินทรัพย์เท่านั้น และสามารถรับสินทรัพย์ได้ครั้งละหนึ่งรายการการทำงานสามารถเพิ่มข้อมูล แก้ไขข้อมูล ยกเลิกข้อมูล และค้นหาข้อมูลได้ โดยมีรายละเอียดและวิธีการใช้งานดังนี้

ขั้นตอนการเปิดเมนูบันทึกรับสินทรัพย์(มีสัญญา)        

       เมนู จัดซื้อ บันทึกรับสินทรัพย์(มีสัญญา) ดังรูป

รูปที่ img06_1

กดปุ่ม Enter คลิกเลือกเมนูบันทึกรับสินทรัพย์(มีสัญญา)แล้ว ระบบจะแสดงหน้าจอการทำงาน ดังรูป

รูปที่ img06_2

       โปรแกรมใช้ Enter เป็นหลัก เมื่อกดปุ่ม Enter Cursor จะโฟกัสไปตามลำดับ หาก Enter แล้ว Cursor ไม่ไป ก็ให้ใช้เมาส์    คลิกแทน เมนูนี้ประกอบด้วยส่วนสำคัญ 4 ส่วน ดังนี้

  ส่วนที่ 1 เป็นส่วนของการแสดงรายละเอียดของการรับสินค้า ดังรูป

    

รูปที่ img06_3

       - ระบบจะสร้างเลขที่เอกสารให้อัตโนมัติ (ซึ่งสามารถตั้งค่าได้ที่ ระบบ --> กำหนดเลขที่เอกสาร) รูปแบบของเลขที่ใบรับ เช่น GR015708/0001

               “GR” มาจาก อักษรนำของเอกสาร

“01” มาจาก เลขประจำสาขา

“57” มาจาก ปี พ.ศ.หรือ ค.ศ.

“08” มาจาก เลขเดือน

“0001” มาจาก เลขรันของเอกสาร

-เลือกชื่อพนักงานที่ทำการรับสินค้าโดยกดปุ่ม หรือ กดปุ่ม Enterสามารถค้นหาพนักงานได้ ดังรูป

รูปที่ img06_7

               - วันที่รับสินค้า ระบบจะแสดงวันที่ปัจจุบัน สามารถเปลี่ยนแปลงแก้ไขได้ โดยการ

        พิมพ์วันที่เองหรือกดปุ่ม จะแสดงหน้าจอปฏิทินให้เลือกวันที่ ดังรูป

รูปที่ img06_10

- ใส่ข้อมูลเลขที่ใบส่งของ

               - สำหรับเลือกผู้จำหน่าย โดยกดปุ่ม หรือปุ่ม Enter

        สามารถค้นหาผู้จำหน่ายได้ ดังรูป

รูปที่ img06_13

               - คือการเลือกผู้โอนรถ (กรณีเป็นรถมือสองที่เคยโอนรถ

        แล้ว) สามารถเลือกข้อมูลได้จากข้อมูลผู้จำหน่าย

               - เมื่อเลือกผู้โอนแล้วให้ติ๊กเลือกสถานะโอนทะเบียน

               - คือการใส่วันที่ตามใบส่งของ

               - คือสถานะของสินค้า สามารถค้นหาสถานะสินค้าได้โดยกดปุ่ม

       หรือปุ่ม Enter ได้ ดังรูป

รูปที่ img06_18

               -คือการใส่เครดิตในการชำระเงินจากผู้จำหน่าย โดยจะดึงจากข้อมูลผู้จำหน่ายมาแสดง

               - เป็นส่วนของการแสดงวันที่ครบกำหนดชำระเงิน ไม่สามารถแก้ไขได้ โดย

       โปรแกรมจะคำนวณให้จากเครดิตนับจากวันที่ซื้อสินค้า

               - สามารถดึงรายการจากใบสั่งซื้อ โดยกดปุ่ม หรือปุ่ม Enter ได้ ดังรูป

       

รูปที่ img06_22

               - เป็นการวางมัดจำจากการสั่งซื้อ โดยโปรแกรมจะดึงข้อมูลมาให้หลังจากที่

        ดึงใบสั่งซื้อแล้ว

               - เป็นการวางมัดจำจากการสั่งซื้อที่มีภาษี โดยโปรแกรมจะดึงข้อมูลมาให้

        หลังจากที่ดึงใบสั่งซื้อแล้ว

               - เป็นใบแจ้งหนี้จากผู้จำหน่าย สามารถคีย์เองได้

               -เป็นการคีย์ข้อมูลอื่นๆ ที่ต้องการเก็บไว้อ้างอิง

      ส่วนที่ 2 เป็นส่วนของการแสดงรายละเอียดของสินค้า ดังรูป

    

รูปที่ img06_27

               - เป็นการเลือกประเภทสินค้า โดยกดปุ่ม หรือ

        ปุ่ม Enter ได้ ดังรูป

รูปที่ img06_29

               - เป็นการเลือกประเภทการทำสัญญา โดยกดปุ่ม หรือปุ่ม Enter

        ได้ ดังรูป

รูปที่ img06_1

               - เป็นการเลือกยี่ห้อรถ โดยกดปุ่ม หรือปุ่ม Enter ได้ ดังรูป

รูปที่ img06_33

               - เป็นการเลือกรุ่นรถ โดยกดปุ่ม หรือปุ่ม Enter ได้ ดังรูป

รูปที่ img06_35

               - เป็นการเลือกแบบรถ โดยกดปุ่ม หรือปุ่ม Enter ได้ ดังรูป

รูปที่ img06_37

               -เป็นการเลือกสีของรถ โดยกดปุ่ม หรือปุ่ม Enter ได้ ดังรูป

รูปที่ img06_39

               - กรอกหมายเลขเครื่อง

        หมายเลขตัวถัง

               - เป็นการเลือกจังหวัดที่ทำการจดทะเบียนรถ ใน

        สถานะที่เป็นรถเก่าโดยกดปุ่ม หรือปุ่ม Enter ได้ ดังรูป

รูปที่ img06_43

               - เป็นการเลือกสถานที่เก็บสินค้า โดยกดปุ่ม หรือปุ่ม Enter ได้ ดังรูป

รูปที่ img06_45

               - เป็นการคีย์เลขทะเบียนรถ/ปี ค.ศ. ที่มีการจดทะเบียนแล้ว

               - เป็นการคีย์หมายเหตุสต็อก กรณีที่ต้องการเก็บข้อมูลเพิ่มเติม

ส่วนที่ 3 เป็นส่วนของการคีย์เงื่อนไขการทำสัญญา ซึ่งแบ่งออกเป็น 2 แถบดังนี้

       3.1 แถบเงื่อนไขการทำสัญญา

รูปที่ img06_48

               - คือการคีย์เงินดาวน์รวม vat แล้วกดปุ่ม Enter โปรแกรมจะคำนวณช่อง

     เงินดาวน์ที่ไม่รวม Vat ให้ หรือกรอกช่อง โปรแกรมจะคำนวณช่องเงินดาวน์ที่รวม Vat ให้

               - คือการคีย์ค่างวดรวม vat แล้วกดปุ่ม Enter โปรแกรมจะคำนวณช่อง ค่างวด

     ที่ไม่รวม Vat ให้ หรือกรอกช่อง โปรแกรมจะคำนวณช่องค่างวดที่รวม Vat ให้

               - เป็นการคีย์จำนวนงวดที่ผ่อนชำรต้องผ่อนชำระ ตามสัญญา

               - อัตราดอกเบี้ยคงที่ หรือ Flat interest Rate

               - ระบบจะตั้งภาษีเป็นค่าเริ่มต้นไว้ให้ หากเป็นการคำนวณที่ไม่มีภาษี สามารถ

    เลือกออกได้

- คือการคีย์ราคาเงินสด MCS รวม vat แล้วกดปุ่ม Enter โปรแกรมจะ 

      คำนวณช่องเงินสด MCS ที่ไม่รวม Vat ให้ หรือกรอกช่อง โปรแกรมจะคำนวณช่องเงินสด MCS ที่

      รวม Vat ให้

               - คือการผ่อนชำระที่งวดสุดท้าย จะสูงกว่าค่างวดปกติ

               - คือยอดบอลลูนที่ได้ สามารถคิดได้จากค่างวด งวดสุดท้าย(ไม่รวม

       Vat) -ค่างวดปกติ(ไม่รวม Vat)

- คือการใส่ค่างวด งวดสุดท้ายที่รวมภาษีแล้ว กดปุ่ม Enter

     โปรแกรมจะคำนวณช่องค่างวด งวดสุดท้ายที่ไม่รวม Vat ให้ หรือกรอกช่อง

      โปรแกรมจะคำนวณช่องค่างวด งวดสุดท้ายที่รวม Vat ให้

               - คือการคำนวณดอกเบี้ยแบบ IRR(Flat Rate)

               - คือการคิดคำนวณอัตราดอกเบี้ยออกมาเป็นวันแบบลดต้นลดดอก(Effective Rate)

               - เป็นการคิด Rate อัตราดอกเบี้ย

               - เป็นค่าอุปกรณ์ที่มีการเปลี่ยนเพิ่มเติม โปรแกรมจะดึงมาแสดงให้

       ทั้งราคาที่รวม Vat แล้วและไม่รวม Vat

               - คือค่าเช่าซื้อทั้งหมดที่รวมดอกเบี้ย และยังไม่หักเงินดาวน์

       โปรแกรมจะดึงมาแสดงให้ทั้งราคารวม Vat แล้ว และไม่รวม Vat

               - คือค่าเช่าซื้อที่ต้องผ่อนชำระ เป็นยอดที่หักจากเงินดาวน์แล้ว

               - เป็นดอกผลเช่าซื้อที่คาดว่าจะได้รับ

               - เป็นภาษีซื้อที่คาดว่าจะต้องจ่าย

               - คือมูลค่ารถก่อนภาษีมูลค่าเพิ่ม

               - เป็นยอดเงินมัดจำจาการบันทึกใบสั่งซื้อ/วางมัดจำ

               - เป็นยอดภาษีมูลค่าเพิ่ม - เงินมัดจำ

               - เป็นค่าภาษีมูลค่าเพิ่ม 7%

               - เป็นยอดก่อนภาษีมูลค่าเพิ่ม - ลบเงินมัดจำ แล้วมา+ ภาษีมูลค่าเพิ่ม 7%

       3.2 แถบรายการของแถม/อุปกรณ์เพิ่มเติม

       Tab รายการของแถม/อุปกรณ์เพิ่มเติม เป็นการเลือกรายการของแถมที่มากับรถ หรือการเปลี่ยนอุปกรณ์ตกแต่งรถเพิ่มเติม  

     และสามารถเลือกได้ว่าอุปกรณ์เดิมที่เปลี่ยนแล้วต้องรับกลับหรือไม่ ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้

     

รูปที่ img06_77

       - สามารถเลือกรายการจากปุ่ม Lookup ดังรูป

            

รูปที่ img06_79

        คือการคีย์จำนวนของรายการที่เลือก

        กรอกราคาของสินค้าที่รวมภาษีแล้ว ถ้าไม่มีราคาก็ไม่ต้องกรอก

       - คือสินค้าที่มีการเปลี่ยนแล้ว อะไหล่เดิมต้องรับกลับหรือไม่

       - หากมีการเลือกว่ารับกลับจะนำเข้า

สต็อก ก็ให้เลือกรหัสสินค้า ซึ่งจะดึงจากข้อมูลสินค้าในคลังจากระบบ PSS

        เป็นการกรอกจำนวนที่ต้องรับกลับ

    ส่วนที่ 4 เป็นส่วนของการแสดง ชื่อผู้ทำรายการ และวันที่ทำรายการ ไม่สามารถแก้ไขหรือลบข้อมูลได้

รูปที่ img06_85

      

รูปที่ img06_86

- กดปุ่มเพิ่ม เพื่อเพิ่มรายการใหม่ เมื่อทำการบันทึกรับสินค้าไปแล้วครั้งแรก และกดปุ่มเพิ่มอีกครั้ง   

        โปรแกรมจะเก็บข้อมูลบางส่วนเอาไว้ เช่น ผู้รับสินค้า, เลขที่ใบส่งของ, ซื้อจาก, สถานะ, ประเภทสินค้า, ยี่ห้อ

        รุ่น แบบ สี

       - กดปุ่มเพิ่มเคลียร์ เพื่อล้างรายการออกทั้งหมด

       - กดปุ่มแก้ไข เมื่อต้องการแก้ไขข้อมูล โปรแกรมจะตรวจสอบสิทธิ์ในการทำงานว่าสามารถแก้ไข

        ข้อมูลหรือไม่

       - กดปุ่มยกเลิก เมื่อต้องการยกเลิกรายการ จะยกเลิกได้สถานะใบรับจะต้องเป็น สถานะสัญญายัง

       ไม่ได้รับสัญญาเท่านั้น โปรแกรมจะตรวจสอบสิทธิ์ในการทำงานว่าสามารถยกเลิกข้อมูลหรือไม่

       - กดปุ่มบันทึก เมื่อต้องการบันทึกใบรับสินค้า

       - กดปุ่ม cancel เมื่อไม่ต้องการทำรายการต่อ

       - กดปุ่มค้นหา เมื่อต้องการดูข้อมูลที่ได้มีการบันทึกไปแล้ว สามารถค้นหาได้ทั้งรายการที่ยังไม่ได้

        ยกเลิก และรายการที่มีการยกเลิกไปแล้ว

       - กดปุ่มพิมพ์ เมื่อต้องการพิมพ์เอกสารซ้ำ โปรแกรมจะตรวจสอบสิทธิ์ในการทำงานว่าสามารถ

        พิมพ์ซ้ำได้หรือไม่

       - กดปุ่มปิด เมื่อต้องการปิดหน้าจอการทำนั้นไป

  ขั้นตอนการบันทึกรับสินทรัพย์(มีสัญญา)สามารถทำได้ดังนี้

1. ขั้นตอนการเพิ่มรายการบันทึกรับสินทรัพย์ (มีสัญญา)

       - กดปุ่ม หรือ ปุ่ม Insert บนคีย์บอร์ด แล้วกดปุ่ม Enter

       - กดปุ่ม Enter เพื่อเลือก แล้วกดปุ่ม Enter

       - ใส่ แล้วกดปุ่ม Enter

       - คีย์ แล้วกดปุ่ม Enter

       - เลือกผู้จำหน่าย แล้วกดปุ่ม Enter

       - ใส่ แล้วกดปุ่ม Enter

       - เลือก แล้วกดปุ่ม Enter

       - คีย์ (ถ้ามี) แล้วกดปุ่ม Enter

       - ใช้เมาส์คลิกเลือก (ถ้ามี)

       - ใช้เมาส์คลิกเลือก แล้วกดปุ่ม Enter

       - เลือก แล้วกดปุ่ม Enter

       - เลือก แล้วกดปุ่ม Enter

       - เลือก แล้วกดปุ่ม Enter

       - เลือก แล้วกดปุ่ม Enter

       - คีย์ แล้วกดปุ่ม Enter

       - คีย์ แล้วกดปุ่ม Enter

       - เลือก แล้วกดปุ่ม Enter

       - คีย์ (ถ้ามี) แล้วกดปุ่ม Enter

       - เลือก แล้วกดปุ่ม Enter

       - คีย์ แล้วกดปุ่ม Enter

เงื่อนไขการทำสัญญา สามารถทำได้หลายเงื่อนไข ยกตัวอย่าง เช่น

       1. การทำสัญญาแบบปกติ (Flat Rate)

       - คีย์ หรือคีย์ ก็ได้ (ถ้ามี) แล้วกดปุ่ม Enter

          - คีย์ หรือคีย์ ก็ได้ แล้วกดปุ่ม Enter

       - คีย์ แล้วกดปุ่ม Enter

       - คีย์ แล้วกดปุ่ม Enter

       - คีย์ หรือคีย์ ก็ได้ แล้วกดปุ่ม Enter ดังรูป

รูปที่ img06_96

       2. การทำสัญญาแบบบอลลูน หรือลดต้นลดดอก (Effective Rate)

ให้คีย์รายการเบื้องต้นตามแบบสัญญาปกติ สัญญาแบบบอลลูนนี้จะเพิ่มในส่วนของค่างวดๆ สุดท้าย และ

สินค้าคงเหลืองวดสุดท้าย และสามารถคิดดอกเบี้ยตามวันได้ ทำได้ดังนี้

       - เลือก และคีย์ยอด แล้วกดปุ่ม Enter

       - เลือก หรือคีย์ ก็ได้

        แล้วกดปุ่ม Enter

       - เลือก

       - เลือกซึ่งคำนวณจากสูตร Rate ได้ดังรูป

     

รูปที่ img06_97

       - กดปุ่ม โปรแกรมจะแสดงเอกสารใบรับสินค้า สามารถพิมพ์ได้ โดยกดปุ่ม  เอกสารได้ดังรูป

รูปที่ img06_98

2. ขั้นตอนการค้นหาบันทึกรับสินทรัพย์ (มีสัญญา)

       สามารถค้าหาได้จากใบรับสินค้าปกติ และใบรับสินค้าที่ยกเลิก

       - กดปุ่ม

       -หากต้องการค้นหาเฉพาะใบรับสินค้าที่ยังไม่ยกเลิก กดปุ่ม Yes หากไม่ใช่ กดปุ่ม No ดังรูป

รูปที่ img06_99

       - กดปุ่ม Yes แสดง Lookup ค้นหาจาก ดังรูป

รูปที่ img06_100

- กดปุ่ม OK ได้ดังรูป

รูปที่ img06_101

       - เลือกรายการที่ต้องการค้นหา แล้วกดปุ่ม Enter หรือใช้เมาส์ดับเบิ้ลคลิกเลือก

3. ขั้นตอนการแก้ไขบันทึกรับสินทรัพย์ (มีสัญญา)

       -กดปุ่ม เพื่อเลือกรายการที่ต้องการแก้ไข

       - กดปุ่ม เพื่อแก้ไขรายการ ใส่รหัสผ่านและระบุหมายเหตุในการแก้ไข ดังรูป

รูปที่ img06_102

 

4.ขั้นตอนการยกเลิกบันทึกรับสินทรัพย์ (มีสัญญา)

       - กดปุ่ม เพื่อเลือกรายการที่ต้องการยกเลิก

       - กดปุ่ม โปรแกรมจะแจ้งเตือน “ยกเลิกใบรับสินทรัพย์เลขที่ ” ดังรูป

 

รูปที่ img06_103

       - กดปุ่ม Yes โปรแกรมจะแจ้งให้ใส่รหัสผ่านและระบุเหตุผล ดังรูป

 

รูปที่ img06_104

 

           5. ขั้นตอนการพิมพ์บันทึกรับสินทรัพย์ (มีสัญญา)

       -กดปุ่ม โปรแกรมจะแจ้งให้ใส่รหัสผ่านและระบุเหตุผล ดังรูป

รูปที่ img06_105